กระบวนการกลายเป็นสินค้าของประเพณีแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี (The Commodification of The Candle Festival of Ubonratchathani)

Journal of Interdisciplinary Research: Graduate Studies, Vol.3 No.1

14 Pages Posted: 8 Mar 2018

Date Written: January 1, 2014

Abstract

Thai Abstract: งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการกลายเป็นสินค้าของประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งได้จากการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร บทความและงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เชิงวัฒนธรรมของงานประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้รู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น นักท่องเที่ยว และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อให้ทราบถึงกระบวนการกลายเป็นสินค้าของประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี ที่อยู่ภายใต้ความเชื่อ ความศรัทธาตามแนวพระพุทธศาสนาที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ ซึ่งจัดเป็นวัตถุดิบทางวัฒนธรรมที่สำคัญและแฝงอยู่ในเรื่องเล่าตามแนวพุทธชาดกที่ว่า การสร้างแสงสว่างเป็นทาน ที่มุ่งหวังในการถวายเทียนพรรษาเพื่อสร้างบุญกุศลแก่ตนเองและครอบครัว โดยใช้แนวคิดกระบวนการทำให้เป็นสินค้าของสำนักมาร์กซิสต์ในการวิเคราะห์เชื่อมโยงกับทุนวัฒนธรรมเพื่อศึกษาการเกิดกระบวนการกลายเป็นสินค้า ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมของงานประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี มีลักษณะแตกต่างตามยุคสมัยซึ่งมีความสอดรับกับโครงสร้างและบริบททางสังคมไทยในขณะนั้น

English Abstract: This research concerns dynamics of commodification of candle festival of Ubonratchathani. The research has done by using qualitative approach research documents related including the study about cultural history and the origin of candle festival up to the present and structure interview guideline, participatory non-participatory observations, tourism and the relative of candle festival Ubonratchathani up to now to understand about commodification of candle festival which is in belief, adoration of Buddhism which have been since the old Age. They are cultural material and hide in the Buddha story that putting the light up for giving alms by using an idea of process to make a produce of Marxist Institution for analyzing and linking to culture capital by the result of the research finding that the culture of candle festival Ubonratchathani is different in each Age which is relevant with the structure and Thai social context at that moment.

Note: Downloadable document is in Thai.

Keywords: Commodification, Cultural material, Culture capital

Suggested Citation

Tantiset, Krittayaporn, กระบวนการกลายเป็นสินค้าของประเพณีแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี (The Commodification of The Candle Festival of Ubonratchathani) (January 1, 2014). Journal of Interdisciplinary Research: Graduate Studies, Vol.3 No.1, Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=3118987

Krittayaporn Tantiset (Contact Author)

Chulalongkorn University ( email )

Bangkok
Bangkok 10330
Thailand

Do you have negative results from your research you’d like to share?

Paper statistics

Downloads
394
Abstract Views
1,263
Rank
137,540
PlumX Metrics