ความคิดเห็นต่อความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ ในกองพลทหารราบที่ 9 (The Opinion toward Patron-Client Relationship in The Ninth Infantry)

7 Pages Posted: 10 Oct 2018

See all articles by Narin Kuntanapong

Narin Kuntanapong

Kasetsart University - Faculty of Social Sciences

Vacharin Chansilp

Kasetsart University - The Political Science Association of Kasetsart University (PSAKU)

Wanlop Rathachatranon

Kasetsart University

Date Written: July 1, 2015

Abstract

Thai Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ ในกองพลทหารราบที่ 9 และปัจจัยที่มีผลต่อความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ ในกองพลทหารราบที่ 9 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครัง้ นี้คือ นายทหารประทวนและนายทหารสัญญาบัตร สังกัดกองพลทหารราบที่ 9 จังหวัดกาญจนบุรีทา การสุ่มตัวอย่างจากทหารจานวน 400 นายเครื่องมือในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถาม ทาการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที ทดสอบความแตกต่าง วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ตามลา ดับ ผลการวิจัยพบว่า ตัวอย่างมีความคิดเห็น ต่อความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์อยู่ในระดับสูงแต่เมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่า มีความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ที่สูงที่สุดในเรื่อง “ไม่ขายเพื่อนคือข้อคิดในการทางานที่ดี”และรองลงมาคือ เรื่อง “บุญคุณต้องทดแทน เป็นคา ที่คนสว่ นใหญ่เห็นว่าควรกระทา ต่อไป” โดยตัวอย่างมีความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ ต่าที่สุด ในเรื่อง “ถ้าผู้ใต้บังคับบัญชาทาผิด ควรทาให้ความผิดนั้นลดน้อยลง หรือไม่มีความผิดเลย” ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ระดับการศึกษา สถาบันการศึกษา ชัน้ ยศ ที่ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์แตกต่างกัน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตัง้ ไว้ อย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

English Abstract: The objective of this study was to explore the Opinion Toward patron-client Relationship in the Ninth Infantry Division and the factors that affected the patron-client Relationship in the Ninth Infantry Division. The population in this study was 400 commissioned and noncommissioned in the Ninth Infantry Division, Karnchanaburi province. The data collection was a questionnaire. Data analysis used a package of computer program. The Percentage, Mean, Standard Deviation, t-test value, one-way Anova. were used as the statistical analysis. The result of the study showed that samplings opinion toward the Patron-client relationship was high level. Considering each item, the result found that high level of patron-client relationship was the following items: “A friend is not for sale commentaries on the good work” and “You need to substitute merit The majority were should do continually”. Samplings had lowest level of patron client relationship concerning “If subordinates do wrong, the offense should be reduced or no offense at all”. The result of the hypothesis found that the difference education, educational institution and rank of the samplings affected the difference patron-client relationship.

Keywords: Opinion, Patron-Client Relationship, Infantry Division

Suggested Citation

Kuntanapong, Narin and Chansilp, Vacharin and Rathachatranon, Wanlop, ความคิดเห็นต่อความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ ในกองพลทหารราบที่ 9 (The Opinion toward Patron-Client Relationship in The Ninth Infantry) (July 1, 2015). Journal of Interdisciplinary Research: Graduate Studies, Vol. 4, No. 3, Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=3259986 or http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.3259986

Narin Kuntanapong (Contact Author)

Kasetsart University - Faculty of Social Sciences ( email )

50 Ngam Wong Wan Rd,Chatuchak
Bangkok 10900
Thailand

Vacharin Chansilp

Kasetsart University - The Political Science Association of Kasetsart University (PSAKU) ( email )

Kasetsart University
Ngamwongwan Rd., Ladyao
Chatuchak, Bangkok 10900
Thailand

Wanlop Rathachatranon

Kasetsart University ( email )

Kasetsart University
Kamphaeng Saen, Nakhon Pathom 73140
Thailand

Do you have negative results from your research you’d like to share?

Paper statistics

Downloads
58
Abstract Views
470
Rank
653,722
PlumX Metrics