“ชีวิตที่อยู่ตรงกลาง”: ตำแหน่งพิเศษของชาวไทใหญ่ในประเทศไทย ('Living In-Between': The Distinctive Position of Shan Migrants in Thailand)

6 Pages Posted: 11 Oct 2018

See all articles by Palinda Ramingwong

Palinda Ramingwong

Chiang Mai Rajabhat University, Thailand

Date Written: October 1, 2015

Abstract

Thai Abstract: งานวิจัยนี้ต้องการค้นหาตาแหน่งของผู้อพยพชาวไทใหญ่ในประเทศไทยที่มีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากผู้อพยพกลุ่มอื่นๆ โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบการวิจัยเอกสาร ผลการวิจัยพบว่าผู้อพยพชาวไทใหญ่มีตาแหน่งพิเศษในสังคมไทยซึ่งเป็นผลมาจากการจัดประเภทผู้อพยพของรัฐบาลที่ละเลยบริบททางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสาเหตุทางการเมืองที่ผลักให้คนกลุ่มน้ตี ้องละทิ้งถนิ่ ฐานของตนเองจากรัฐฉานในประเทศเมียนมาร์และมาใช้ชีวิตอยู่ในประเทศไทย หลังจากข้ามพรมแดนมาแล้ว พวกเขาถูกจัดประเภทโดยรัฐบาลไทยให้เป็นแรงงานข้ามชาติ ทา ให้คนกลุ่มนี้กลายเป็นผู้ที่มีตาแหน่งที่อยู่ตรงกลางหรือมีสถานะก้า กึ่งในสามลักษณะด้วยกันคือ หนึ่ง การอยู่ตรงกลางระหว่างการเป็นผู้ลี้ภัยกับแรงงานข้ามชาติ สอง การเป็นพลเมืองชัว่ คราวของประเทศไทยกับการเป็นผู้ไร้สถานะพลเมืองในประเทศต้นทาง และสาม การเป็นเครือญาติกับคนไทยและการเป็นแรงงานข้ามชาติ ซึ่งลักษณะที่โดดเด่นเหล่าน้ขี องคนไทใหญ่เป็นผลจากการจัดประเภทผู้อพยพของรัฐไทยที่เน้นแต่เรื่องความมัน่ คงและการเติบโตทางเศรษฐกิจมากกว่ามิติอื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับผู้อพยพ ทาให้เราเห็นถึงปัญหาของการจัดประเภทดังกล่าวและนโยบายของรัฐที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตของคนกลุ่มน้อี ย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

English Abstract: The main objective of this research is to seek the distinctive position of Shan migrants in Thailand which differs from other migrants. This research employs the documentary research methodology. The result shows that the distinctive position of Shan migrants in Thailand is derived from the categorization of migrants determined by the state authorities that overlook their history, cultural context and the political conflict which pushed them to leave their homeland, Shan state in Myanmar, and migrate to Thailand. Once they have crossed the border, they are categorized by the Thai government as economic migrant workers who have a distinctive feature as in-between migrants which can be distinguished in three different ways: that is, being inbetween refugees and migrant workers; being in-between temporary citizens and non-citizenship citizens; and being in-between family members of local Thai people and of alien workers. Their in-betweenness position has arisen from the conventional categories of migrants based on the Thai state-centred perspective which highlights national security and economic interests rather than other aspects of transnational migrants. This problematic classification inevitably affects the responses and policy measures of the Thai government towards these people.

Keywords: Shan migrants, Categories of Migrants, In-betweenness

Suggested Citation

Ramingwong, Palinda, “ชีวิตที่อยู่ตรงกลาง”: ตำแหน่งพิเศษของชาวไทใหญ่ในประเทศไทย ('Living In-Between': The Distinctive Position of Shan Migrants in Thailand) (October 1, 2015). Journal of Interdisciplinary Research: Graduate Studies, Vol. 4, No. 4, Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=3260614 or http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.3260614

Palinda Ramingwong (Contact Author)

Chiang Mai Rajabhat University, Thailand ( email )

202 Chang Puak road., Tambon Chang Puak ,Maung
Chiangmai 50300
Thailand

Do you have negative results from your research you’d like to share?

Paper statistics

Downloads
112
Abstract Views
483
Rank
445,470
PlumX Metrics