คุณภาพชีวิตการทางานของบุคลการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี (Quality of Work Life of Personnel of Subdistrict Administration Organizations in Sainai District, Nonthaburi Province)

8 Pages Posted: 13 Nov 2018

See all articles by Panatsorn Inklib

Panatsorn Inklib

Kasetsart University - Faculty of Social Sciences

Wanlop Rathachatranon

Kasetsart University

Somkiat Wanthana

Kasetsart University

Date Written: january 1, 2017

Abstract

Thai Abstract: การวิจัยครัง้ นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการทางานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทางานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมภายในองค์กรกับคุณภาพชีวิตการทางานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรีวิเคราะห์ผลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติแบบ t-test, F-Test ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ วิธีการทดสอบ Least Significant Difference ทดสอบความสัมพันธ์โดยค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจ จัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา ภูมิลาเนาและ ตาแหน่งงานที่ต่างกัน มีผลต่อคุณภาพชีวิตในการทา งานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ อาเภอไทรน้อยจังหวัดนนทบุรี แตกต่างกัน ผลการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ได้แก่ ด้านกลยุทธ์ ด้านโครงสร้างองค์กร ด้านระบบการทางาน ด้านบุคลากร ด้านทักษะ ด้านรูปแบบการบริหาร ด้านค่านิยมร่วม มีความสัมพันธ์ทางบวกต่อคุณภาพชีวิตในการทางานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี

English Abstract:The purposes of this study were to 1) To study the quality of working life. 2) To compare the quality of working life by personal factors. 3) To study relationships between the environment in the work place and the quality of working life. Analyzing with descriptive statistics that are frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation. Using t-test and F-test to analyze quantitative data to learn the different means of paired data. Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient of the Least Significant Difference test is statistically significant at 0.05. In conclusion, personal factors such as age, education, residence, and work positions effect differently in the quality of working life of the employees. Environmental factors, which are organizational strategy, work system, human resource, skills, management styles, and shared values are highly important and positively effect the quality of the samples working life. Human development is the most related factor. Then, relationship and cooperation in work, career path and stability, adequate wages, personal rights. Mediocre related factors are to be social responsible, workplace health and safety, and work life balance respectively.

Keywords: Quality of Work Life, Personnel, Subdistrict Administration Organizations in Sainai District, Nonthaburi Province

Suggested Citation

Inklib, Panatsorn and Rathachatranon, Wanlop and Wanthana, Somkiat, คุณภาพชีวิตการทางานของบุคลการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี (Quality of Work Life of Personnel of Subdistrict Administration Organizations in Sainai District, Nonthaburi Province) (january 1, 2017). Journal of Interdisciplinary Research: Graduate Studies, Vol. 6, No. 1, Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=3283567 or http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.3283567

Panatsorn Inklib (Contact Author)

Kasetsart University - Faculty of Social Sciences ( email )

50 Ngam Wong Wan Rd, Ladyaow Chatuchak
Bangkok 10900
Thailand

Wanlop Rathachatranon

Kasetsart University ( email )

Kasetsart University
Kamphaeng Saen, Nakhon Pathom 73140
Thailand

Somkiat Wanthana

Kasetsart University ( email )

Kasetsart University
Kamphaeng Saen, Nakhon Pathom 73140
Thailand

Do you have negative results from your research you’d like to share?

Paper statistics

Downloads
92
Abstract Views
487
Rank
506,051
PlumX Metrics